วันพุธที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2556

เรียนรู้ภาษาอังกฤษ กับวัน คริสต์มาส 25 ธันวาคม



merry christmas


เรียนรู้ภาษาอังกฤษ กับวัน คริสต์มาส 25 ธันวาคม 
merry christmas
In the Western world, the birthday of Jesus Christ has been celebrated on December 25th since AD 354, replacing an earlier date of January 6th. The Christians had by then appropriated many pagan festivals and traditions of the season, that were practiced in many parts of the Middle East and Europe, as a means of stamping them out.

There were mid-winter festivals in ancient Babylon and Egypt, and Germanic fertility festivals also took place at this time. The birth of the ancient sun-god Attis in Phrygia was celebrated on December 25th, as was the birth of the Persian sun-god, Mithras. The Romans celebrated Saturnalia, a festival dedicated to Saturn, the god of peace and plenty, that ran from the 17th to 24th of December. Public gathering places were decorated with flowers, gifts and candles were exchanged and the population, slaves and masters alike, celebrated the occasion with great enthusiasm.

In Scandinavia, a period of festivities known as Yule contributed another impetus to celebration, as opposed to spirituality. As Winter ended the growing season, the opportunity of enjoying the Summer's bounty encouraged much feasting and merriment.

The Celtic culture of the British Isles revered all green plants, but particularly mistletoe and holly. These were important symbols of fertility and were used for decorating their homes and altars.

 New Christmas customs appeared in the Middle Ages. The most prominent contribution was the carol, which by the 14th century had become associated with the religious observance of the birth of Christ.

In Italy, a tradition developed for re-enacting the birth of Christ and the construction of scenes of the nativity. This is said to have been introduced by Saint Francis as part of his efforts to bring spiritual knowledge to the laity.

Saints Days have also contributed to our Christmas celebrations. A prominent figure in today's Christmas is Saint Nicholas who for centuries has been honored on December 6th. He was one of the forerunners of Santa Claus.

Another popular ritual was the burning of the Yule Log, which is strongly embedded in the pagan worship of vegetation and fire, as well as being associated with magical and spiritual powers.

Celebrating Christmas has been controversial since its inception. Since numerous festivities found their roots in pagan practices, they were greatly frowned upon by conservatives within the Church. The feasting, gift-giving and frequent excesses presented a drastic contrast with the simplicity of the Nativity, and many people throughout the centuries and into the present, condemn such practices as being contrary to the true spirit of Christmas.

The earliest English reference to December 25th as Christmas Day did not come until 1043.



คืออะไร
วันคริสต์มาส คือ การฉลองวันประสูติของพระเยซูผู้เป็นศาสดาสูงสุดของชาวคริสต์ทั่วโลก เป็นวันฉลองที่มีความสำคัญ และมีความหมายมากที่สุดวันหนึ่ง เพราะชาวคริสต์ถือว่า พระเยซูมิใช่เป็ แต่เพียงมนุษย์ธรรดาๆ ที่มาเกิดเหมือนเด็กทั่วไป แต่พระองค์เป็นบุตรของพระเจ้าผู้สูงสุด และมีพระธรรมชาติเป็น พระเจ้า และเป็นมนุษย์ในพระองค์เอง การบังเกิดของพระองค์ จึงเป็นเหตุการณ์ พิเศษ ที่ไม่เหมือนใคร และไม่มีใครเหมือนด้วย

วันคริสต์มาสประวัติการประสูติพระเยซูเจ้า

ในเวลานั้น จักรพรรดิออกัสตัส รับสั่งให้ราษฎรทุกคน ในอาณาจักรโรมัน ไปลงทะเบียนสำมะโน ประชากร โยเซฟและมารีย์ ซึ่งมีครรภ์แก่จึงต้องเดินทางไปยังเมืองเบธเลเฮม อันเป็นเมืองที่กษัตริย์ดาวิดประสูติ พอดีถึงกำหนดที่มารีย์จะคลอดบุตร เธอก็ได้คลอดบุตรชายหัวปี เธอเอาผ้าพันกายพระกุมารแล้ววางไว้ใน รางหญ้า เนื่องจากตามโรงแรมไม่มีที่พักเลย คืนนั้นทูตสวรรค์ของพระเจ้า ปรากฎแก่พวกเลี้ยงแกะ พวกเขาตกใจกลัวมาก แต่ทูตสวรรค์ปลอบพวกเขาว่า "อย่ากลัวไปเลย เพราะเรานำข่าวดีมาบอก คืนนี้เอง ในเมืองของกษัตริย์ ดาวิด มีพระผู้ช่วยให้รอดประสูติ พระองค์นั้นเป็นพระคริสต์พระเป็นเจ้า นี่จะเป็น หลักฐานให้พวกท่านแน่ใจคือ พวกท่านจะพบพระกุมารมีผ้าพันกาย นอนอยู่ในรางหญ้า"
ทันใดนั้น มีทูตสวรรค์อีกมากมาย ร้องเพลง สรรเสริญ พระเจ้าว่า " Gloria in Excelsis Deo ขอเทิด พระเกียรติพระเจ้าผู้สถิตย์ในสวรรค์ชั้นสูงสุด สันติสุขบนพิภพจงเป็นของผู้ที่พระองค์ทรงพอพระทัย

วันคริสต์มาสทำไมจึงฉลองคริสต์มาสวันที่ 25 ธันวาคม
ตามหลักฐานในพระคัมภีร์ (ลก.2:1-3) บันทึกไว้ว่าพระเยซูเจ้าบังเกิด ในสมัยที่จักรพรรดิซีซ่าร์ออกัสตัส ให้จดทะเบียนสำมะโนครัวทั่วทั้งแผ่นดิน โดยมีคีรินิอัสเป็นเจ้าครองเมืองซีเรีย ซึ่งในพระคัมภีร์ไม่ได้บอกว่า เป็นวัน หรือเดือนอะไร แต่นักประวัติศาสตร์ให้เหตุผลว่า ทื่ค ริสตชน เลือกเอาวันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันฉลองคริสต์มาส ตั้งแต่ ศตวรรษที่ 4 เป็นต้นมา เนื่องจาก ในปี ค.ศ. 274 จักรพรรดิเอาเรเลียน ได้กำหนดให้วันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันฉลอง วันเกิดของสุริยเทพผู้ทรงพลัง ชาวโรมันฉลองวันนี้อย่างสง่า และถือเสมือนว่าเป็นวันฉลองของพระจักรพรรดิไปในตัวด้วย เพราะพระจักรพรรดิก็เปรียบเสมือน ดวงอาทิตย์ ที่ให้ความสว่างแก่ชีวิตมนุษย์
คริสตชนที่อยู่ในจักรวรรดิ โรมันรู้สึกอึดอัดใจที่จะฉลอง วันเกิดของสุริยเทพตามประเพณีของ ชาวโรมัน จึงหันมาฉลองการบังเกิดของพระเยซูเจ้าแทน จนถึงวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 330 จึงเริ่มมีการฉลองคริสต์มาสอย่างเป็นทางการ และอย่างเปิดเผย เนื่องจากก่อนนั้น มีการเบียดเบียนศาสนาอย่างรุนแรง (ตั้งแต่ ปี ค.ศ. 64-313) ทำให้คริสตชนไม่มีโอกาสฉลองอะไรอย่างเปิดเผย

วันคริสต์มาสความสำคัญของวันคริสต์มาส

คริสต์มาส เป็นวันที่มีความสำคัญอย่างยิ่งวันหนึ่งในศาสนาคริสต์ มิใช่เป็นวันสำคัญฝ่าย ร่างกายจัดงาน รื่นเริงภายนอกเท่านั้น ซึ่งเป็นแต่เพียงเปลือกนอกของการฉลองคริสต์มาส แต่แก่นแท้อยู่ที่ความรัก ของพระเจ้าที่ มีต่อโลกมนุษย์ นั่นคือ พระเจ้าทรงรักมนุษย์ มากจน ถึงกับยอมส่งพระบุตรแต่องค์เดียว ของพระองค์ ให้มาเกิดเป็น มนุษย์ มีเนื้อหนังมังสา ชื่อว่า "เยซู"
การที่พระเจ้าได้ถ่อมองค์และเกียรติลงมาเกิดเป็นมนุษย์ เพื่อช่วยมนุษย์ให้รอดพ้นจากการเป็นทาส ของความชั่ว และบาปต่างๆ นั่นเอง
ดังนั้นความสำคัญของวันคริสต์มาสจึงอยู่ที่การฉลองความรักที่พระเจ้ามีต่อ โลกมนุษย์ อย่างเป็นจริง เป็นจัง และเห็นตัวตนในพระเยซูคริสต์ที่มาเกิดเป็นมนุษย์ มากกว่าสิ่งอื่นใดทั้งสิ้น

ประวัติวันคริสต์มาส
คริสต์มาส คือการฉลองการบังเกิดของพระเยซูเจ้า เรา เฉลิมฉลองกันในวันที่ 25 ธันวาคม คำ ว่า คริสต์มาส เป็นคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ Christmas ซึ่งมาจากภาษาอังกฤษ โบราณว่า Christes Maesse ที่แปลว่า บูชามิสซาของพระคริสตเจ้า เพราะการร่วมพิธีมิสซาเป็นประเพณีสำคัญที่สุดที่ชาวคริสต์ ถือปฎิบัติกันในวันคริสต์มาส
คำว่า Christes Maesse พบครั้งแรก ในเอกสารโบราณ เป็นภาษาอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1038 และคำนี้ก็แปรเปลี่ยนมาเป็นคำว่า Christmas คำทักทายที่เราได้ฟังบ่อย ๆ ในเทศกาลนี้คือ Merry Christmas คำว่า Merry ในภาษาอังกฤษโบราณ แปลว่า สันติสุข และความสงบทางใจ
เพราะฉะนั้นคำนี้จึงเป็นคำที่ใช้อวยพรคนอื่น ขอให้เขาได้รับสันติสุขและความสงบ ทางใจ
เนื่องใน โอกาสเทศกาลคริสต์มาส ส่วนภาษาไทยใช้อวยพรด้วยประโยคว่า "สุขสันต์วันคริสต์มาส
Merry Christmas "

การร้องเพลงคริสต์มาส
เพลงคริสต์มาสที่เรานิยมร้องมากที่สุดในปัจจุบันได้แต่งขึ้นในศตวรรษที่ 19 จากประเทศอังกฤษเป็นส่วนใหญ่ เพลงที่มีเสียงมากได้แก่ Silent Night, Holy Night เป็นภาษาไทยว่า "ราตรีสวัสดิ์ คืนอันศักดิสิทธ์ "
ความเป็นมาของเพลงนี้คือ วันก่อนวัน คริสต์มาส ของปี ค.ศ. 1818 คุณพ่อ Joseph Mohr เจ้าอากาสวัดที่ Oberndorf ประเทศออสเตรเลีย ได้ข่าวว่าออร์แกนในวัดเสีย ทำให้วงขับไม่สามารถร้องเพลงตามที่ซ้อมไว้ได้ คุณพ่อเองตั้งใจจะแต่งเพลงคริสต์มาส หลังจากแต่งเสร็จก็เอาไปให้เพื่อนคนหนึ่งชื่อ Franz Gruber ที่อยู่หมู่บ้านใกล้เคียงใส่ทำนองในคืนวันที่ 24 นั้นเอง สัตบุรุษวัดใกล้ก็ได้ฟังเพลง Silent Night เป็นครั้งแรก โดยการเล่นกีตาร์ประกอบการขับร้อง ซึ่งกลายเป็นเพลงที่นิยมมากที่สุดทั่วโลก

วันคริสต์มาส 25 ธันวาคมเทียนและพวงมาลัย
ในสมัยก่อนมีกลุ่มคริสตชนกลุ่มหนึ่งในเยอรมัน ได้เอากิ่งไม้มาประกอบเป็นวงกลมคล้ายพวงมาลัย แล้วเอาเทียน 4 เล่ม วางไว้บนพวงมาลัยนั้นในตอนกลางคืนของวันอาทิตย์แรกของเทศกาลเตรียมรับเสด็จ ทุกคนในครอบครัวจะมารวมกัน ดับไฟ แล้วจุดเทียนเล่มหนึ่ง สวด ภาวนาและร้องเพลงคริสต์มาสร่วมกัน เขาจะทำดังนี้ทุกอาทิตย์จนครบ 4 อาทิตย์ก่อนคริสต์มาส ประเพณีนี้เป็นที่นิยมและแพร่หลายในที่หลายแห่ง โดยเฉพาะที่สหรัฐอเมริกา
ซึ่งต่อมามีการเพิ่ม โดยเอาพวงมาลัยพร้อมกับเทียนที่จุดไว้ตรงกลาง 1 เล่มไปแขวนไว้ที่หน้าต่างเพื่อช่วย ให้คนที่ผ่านไปมา ได้ระลึกถึงการเตรียมตัวรับวันคริสต์มาสที่ใกล้เข้ามา และพวงมาลัยนั้นยังเป็นสัญลักษณ์ที่คน สมัยโบราณใช้หมายถึงชัยชนะ แต่ในที่นี้หมายถึงการที่พระองค์มาบังเกิดในโลก และทำให้ทุกสิ่งทุกอย่างครบ บริบูรณ์ตามแผนการณ์ของพระเป็นเจ้า

การทำมิสซาเที่ยงคืน
เมื่อพระสันตะปาปาจูลีอัสที่1 ได้ประกาศให้วันที่ 25 ธันวาคมเป็นฉลองพระคริสตสมภพ (วันคริสต์มาส) แล้วในปี นั้นเองพระองค์และสัตบุรุษได้พากันเดินสวดภาวนา และขับร้องไปยังตำบลเบธเลเฮม ยังถ้ำที่พระเยซูเจ้าประสูติ
พอไปถึงก็เป็นเวลาเที่ยงคืน พระสัน ตะปาปาก็ทรงถวายบูชา ณ ที่นั้น เมื่อเสร็จแล้วก็กลับมาที่พัก เป็นเวลาเช้ามืดราวๆ ตี 3 พระองค์ก็ถวายมิสซาอีกครั้ง และสัตบุรุษเหล่านั้นก็พากันกลับ แต่ก็ยังมีสัตบุรุษหลายคนที่ไม่ได้ไป พระสันตะปาปาก็ทรงถวายบูชามิสซาอีกครั้งหนึ่งเป็นครั้งที่ 3 เพื่อ สัตบุรุษเหล่านั้น ด้วยเหตุนี้เองพระสันตะปาปาจึงทรงอนุญาตในพระสงฆ์ถวายบูชามิสซาได้ 3 ครั้ง ในวันคริสต์มาส เหมือนกับการปฏิบัติ ของพระองค์ตั้งแต่ นั้นเป็นต้นมาจึงมี ธรรมเนียมถวายมิสซาเที่ยงคืน ในวันคริสต์มาส และพระสงฆ์ก็สามารถถวายมิสซาได้ 3 มิสซา ใน โอกาสวันคริสต์มาสเช่นเดียวกัน

คริสต์มาสซานตาครอส

ตัวจริงของซานตาครอส คือ นักบุญนิโคลัสซึ่งเป็นบาทหลวงในตุรกี ช่วงคริสต์ศตวรรษที่สี่ ผู้ขึ้นชื่อในเรื่องความใจดี โดยเฉพาะกับเด็กๆ ต่อมาท่านเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางทั่วฮอลแลนด์ในชื่อ "ซินเตอร์คลาส" ราวค.ศ.1870 ชาวอเมริกันเรียกชื่อเพี้ยนไปเป็น"ซานตาคลอส" ตั้งแต่แรกจนถึงค.ศ. 1890
ภาพของซานตาคลอสเป็นชายร่างผอมสูงสวมชุดสีเขียว หรือน้ำตาลสลับแดง เจนนี ไนสตรอม ศิลปินชาวสวีเดน เป็นผู้คิดค้นรูปลักษณ์ของซานตาครอสอย่างที่เห็นกันในปัจจุบัน โดยวาดภาพลงในบัตรอวยพรคริสต์มาส ภาพเหล่านี้ได้รับความนิยมไปทั่วโลก เมื่อชาวสวีเดนอีกคนชื่อ แฮดดอน ซันด์บลอม นำภาพวาดของไนสตรอมสวมชุดขาว

ผู้สนับสนุนข้อมูล "taryee"
ครีมหน้าใส” อื่นๆ :ครีมสาหร่ายครีมนมข้าวครีมน้ำนมข้าวครีมกันแดดซิลิโคน,ครีมหน้าใสเซรั่ม ขาว ใส ยกกระชับครีมตัวขาวครีม เซรั่ม ใต้ตาเจล หน้าใส ยกกระชับ ปรับผิวขาวสบู่หน้าใสครีม เซรั่ม เจล ลดสิวบรรจุภัณฑ์สติกเกอร์ โลโก้ ครีมหน้าใสผิวขาว , ครีมหน้าขาว ,ครีมมะหาดครีมนมผึ้งครีมน้ำนมผึ้ง





กด Link(ถูกใจ) หน้า page ครีมสาหร่าย สอบถามอัพเดตข่าวสาร ได้ที่ หน้า page นี้เลยนะค่ะ

 

วันอังคารที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556

ฝึกภาษาอังกฤษ กับประวัติ วันลอยกระทง 2556

ฝึกภาษาอังกฤษ กับประวัติ วันลอยกระทง 2556
Loi Krathong takes place on the evening of the full moon of the 12th month in the traditional Thai lunar calendar. In the western calendar this usually falls in November.
Loi means 'to float', while krathong refers to a usually lotus-shaped container which floats on the water. Krathong has no other meaning in Thai besides these decorative floats, so Loi Krathong is very hard to translate, requiring a word describing what a Krathong looks like such as Floating Crown, Floating Boat, Floating Decoration. The traditional krathong are made of the layers of the trunk of a banana tree or a spider lily plant. Modern krathongs are more often made of bread or styrofoam. A bread krathong will disintegrate after a few days and can be eaten by fish. Banana stalk krathong are also biodegradable, but styrofoam krathongs are sometimes banned, as they pollute the rivers and may take years to decompose. A krathong is decorated with elaborately-folded banana leaves, incense sticks, and a candle. A small coin is sometimes included as an offering to the river spirits. On the night of the full moon, Thais launch their krathong on a river, canal or a pond, making a wish as they do so. The festival may originate from an ancient ritual paying respect to the water spirits.
Government offices, corporations and other organizations big large decorated krathongs. There are competitions for the best such krathong. A beauty contest is a regular feature and fireworks have become common in recent years.
Loi Krathong is often claimed to have been begun in the Sukhothai by a court lady named Nopphamat. However, it is now known that the Nopphamat tale comes from a poem written in the early Bangkok period.is .[1] According to H.M. King Rama IV, writing in 1863, it was a Brahmanical festival that adapted by Thai Buddhists in Thailand to honor Buddha, Prince Siddhartha Gautama. The candle venerates the Buddha with light, while the krathong's floating symbolizes letting go of all one's hatred, anger, and defilements. People sometime cut their fingernails or hair and placed the clippings on the krathong as a symbol of letting go of negative thoughts. However, many ordinary Thai use the krathong to thank the Goddess of Water, Phra Mae Khongkha (Thai: พระแม่คงคา).
The beauty contests that accompany the festival are known as "Nopphamat Queen Contests". According to legend, Nang Nopphamat (Thai: นางนพมาศ; alternatively spelled as "Noppamas" or "Nopamas") was a consort of the Sukothai king Loethai (14th century) and she had been the first to float a decorated raft. However, this is a new story which was invented during the first part of the 19th century. There is no evidence that a Nang Nopphamat ever existed. Instead it is a matter of fact that a woman of this name was instead the leading character of a novel released during the end of the reign of King Rama III – around 1850. Her character was written as guidance for all women who wished to become civil servants.
Kelantan in Malaysia also celebrates the same celebration, especially in the Tumpat area. The ministry in charge of tourism in Malaysia recognises it as an attraction for tourists. Many people visit the celebration each year.
Yi Peng[edit]


Thousands of Khom Loi in Mae Cho, Chiang Mai
Loi Krathong coincides with the Lanna (northern Thai) festival known as "Yi Peng" (Thai: ยี่เป็ง). Due to a difference between the old Lanna calendar and the Thai calendar, Yi Peng is held on a full moon of the 2nd month of the Lanna calendar ("Yi" meaning "2nd" and "Peng" meaning "month" in the Lanna language). A multitude of Lanna-style sky lanterns (khom loi (Thai: โคมลอย), literally: "floating lanterns") are launched into the air where they resemble large flocks of giant fluorescent jellyfish gracefully floating by through the sky. The festival is meant as a time for tham bun (Thai: ทำบุญ), to make merit. People usually make khom loi from a thin fabric, such as rice paper, to which a candle or fuel cell is attached. When the fuel cell is lit, the resulting hot air which is trapped inside the lantern creates enough lift for the khom loi to float up into the sky. In addition, people will also decorate their houses, gardens and temples with khom fai (Thai: โคมไฟ): intricately shaped paper lanterns which take on different forms. Khom thue (Thai: โคมถือ) are lanterns which are carried around hanging from a stick, khom khwaen (Thai: โคมแขวน) are the hanging lanterns, and khom pariwat (Thai: โคมปริวรรต) which are placed at temples and which revolve due to the heat of the candle inside. The most elaborate Yi Peng celebrations can be seen in Chiang Mai,[2] the ancient capital of the former Lanna kingdom, where now both Loi Krathong and Yi Peng are celebrated at the same time resulting in lights floating on the waters, lights hanging from trees/buildings or standing on walls, and lights floating by in the sky. The tradition of Yi Peng was also adopted by certain parts of Laos during the 16th century.

ลอยกระทง เป็นพิธีอย่างหนึ่งที่มักจะทำกันในคืนวันเพ็ญ เดือน 12 หรือวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 12 อันเป็นวันพระจันทร์เต็มดวง และเป็นช่วงที่น้ำหลากเต็มตลิ่ง โดยจะมีการนำดอกไม้ ธูป เทียนหรือสิ่งของใส่ลงในสิ่งประดิษฐ์รูปต่างๆ ที่ไม่จมน้ำ เช่น กระทง เรือ แพ ดอกบัว ฯลฯ แล้วนำไปลอยตามลำน้ำ โดยมีวัตถุประสงค์ และความเชื่อต่างๆ กัน ในปีนี้ วันลอยกระทง ตรงกับ วันอาทิตย์ที่ 17 พฤศจิกายน 2556
ประเพณีลอยกระทง มิได้มีแต่ในประเทศไทยเท่านั้น ในประเทศจีน อินเดีย เขมร ลาว และพม่า ก็มีการลอยกระทงคล้ายๆ กับบ้านเรา จะต่างกันบ้าง ก็คงเป็นเรื่องรายละเอียด พิธีกรรม และความเชื่อในแต่ละท้องถิ่น แม้แต่ในบ้านเราเอง การลอยกระทง ก็มาจากความเชื่อที่หลากหลายเช่นกัน ซึ่งกลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ได้รวบรวมมาบอกเล่าให้ทราบกันดังต่อไปนี้
ทำไมถึงลอยกระทง การลอยกระทง เป็นประเพณีที่มีมาแต่โบราณ แต่ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่า ปฏิบัติกันมาแต่เมื่อไร เพียงแต่ท้องถิ่นแต่ละแห่ง ก็จะมีจุดประสงค์และความเชื่อในการลอยกระทงแตกต่างกันไป เช่น ในเรื่องเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ก็จะเป็นการบูชาพระเกศแก้วจุฬามณีบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์, เป็นบูชารอยพระพุทธบาท ณ หาดทรายริมฝั่งแม่น้ำนัมมทา ซึ่งปัจจุบันคือแม่น้ำเนรพุททาในอินเดีย หรือต้อนรับพระพุทธเจ้า ในวันเสด็จกลับจากเทวโลก เมื่อครั้งไปโปรดพระพุทธมารดา
ลอยกระทง 2555

นอกจากนี้ ลอยกระทง ก็ยังมีวัตถุประสงค์ เพื่อบูชาพระอุปคุตเถระที่บำเพ็ญบริกรรมคาถาในท้องทะเลลึก หรือสะดือทะเล บางแห่งก็ลอยกระทง เพื่อบูชาเทพเจ้าตามความเชื่อของตน บางแห่งก็เพื่อแสดงความขอบคุณพระแม่คงคา ซึ่งเป็นแหล่งน้ำให้มนุษย์ได้ใช้ประโยชน์ต่างๆ รวมทั้งขอขมาที่ได้ทิ้งสิ่งปฏิกูลลงไป ส่วนบางท้องที่ ก็จะทำเพื่อระลึกถึงบรรพบุรุษที่ล่วงลับ หรือเพื่อสะเดาะเคราะห์ ลอยทุกข์โศกโรคภัยต่างๆ และส่วนใหญ่ก็จะอธิษฐานขอสิ่งที่ตนปรารถนาไปด้วย
พระยาอนุมานราชธน ได้สันนิษฐานว่า ต้นเหตุแห่งการลอยกระทง อาจมีมูลฐานเป็นไปได้ว่า การลอยกระทงเป็นคติของชนชาติที่ประกอบกสิกรรม ซึ่งต้องอาศัยน้ำเป็นสำคัญ เมื่อพืชพันธุ์ธัญชาติงอกงามดี และเป็นเวลาที่น้ำเจิ่งนองพอดี ก็ทำกระทงลอยไปตามกระแสน้ำไหล เพื่อขอบคุณแม่คงคา หรือเทพเจ้าที่ประทานน้ำมาให้ความอุดมสมบูรณ์ เหตุนี้ จึงได้ลอยกระทงในฤดูกาลน้ำมาก และเมื่อเสร็จแล้ว จึงเล่นรื่นเริงด้วยความยินดี เท่ากับเป็นการสมโภชการงานที่ได้กระทำว่า ได้ลุล่วงและรอดมาจนเห็นผลแล้ว ท่านว่าการที่ชาวบ้านบอกว่า การลอยกระทงเป็นการขอขมาลาโทษ และขอบคุณต่อแม่คงคา ก็คงมีเค้าในทำนองเดียวกับการที่ชาติต่างๆ แต่ดึกดำบรรพ์ได้แสดงความยินดี ที่พืชผลเก็บเกี่ยวได้ จึงได้นำผลผลิตแรกที่ได้ ไปบูชาเทพเจ้าที่ตนนับถือ เพื่อขอบคุณที่บันดาลให้การเพาะปลูกของตนได้ผลดี รวมทั้งเลี้ยงดูผีที่อดอยาก และการเซ่นสรวงบรรพบุรุษที่ล่วงลับ เสร็จแล้วก็มีการสมโภชเลี้ยงดูกันเอง
ต่อมาเมื่อมนุษย์มีความเจริญแล้ว การวิตกทุกข์ร้อน เรื่องเพาะปลูกว่าจะไม่ได้ผลก็น้อยลงไป แต่ก็ยังทำการบวงสรวง ตามที่เคยทำมาจนเป็นประเพณี เพียงแต่ต่างก็แก้ให้เข้ากับคติลัทธิทางศาสนาที่ตนนับถือ เช่น มีการทำบุญสุนทานเพิ่มขึ้นในทางพุทธศาสนา เป็นต้น แต่ที่สุด ก็คงเหลือแต่การเล่นสนุกสนานรื่นเริงกันเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ดี ด้วยเหตุดังกล่าวข้างต้น การลอยกระทงจึงมีอยู่ในชาติต่างๆทั่วไป และการที่ไปลอยน้ำ ก็คงเป็นความรู้สึกทางจิตวิทยา ที่มนุษย์โดยธรรมดา มักจะเอาอะไรทิ้งไปในน้ำให้มันลอยไป
ทำไมกระทงส่วนใหญ่เป็นรูปดอกบัว ในหนังสือตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ หรือตำนานนางนพมาศ ซึ่งเป็นพระสนมเอก ของพระมหาธรรมราชาลิไทยหรือพระร่วง แห่งกรุงสุโขทัย ได้กล่าวถึงวันเพ็ญเดือนสิบสองว่า เป็นเวลาเสด็จประพาสลำน้ำ ตามพระราชพิธีในเวลากลางคืน และได้มีรับสั่งให้บรรดาพระสนมนางในทั้งหลาย ตกแต่งกระทงประดับดอกไม้ธูปเทียน นำไปลอยน้ำหน้าพระที่นั่ง ในคราวนั้น ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ หรือนางนพมาศพระสนมเอก ก็ได้คิดประดิษฐ์กระทงเป็นรูปดอกบัวกมุทขึ้น ด้วยเห็นว่าเป็นดอกบัวพิเศษ ที่บานในเวลากลางคืนเพียงปีละครั้งในวันดังกล่าว สมควรทำเป็นกระทงแต่งประทีป ลอยไปถวายสักการะรอยพระพุทธบาท ซึ่งเมื่อพระร่วงเจ้าได้ทอดพระเนตรเห็น ก็รับสั่งถามถึงความหมาย นางก็ได้ทูลอธิบายจนเป็นที่พอพระราชหฤทัย พระองค์จึงมีพระราชดำรัสว่า “แต่นี้สืบไปเบื้องหน้าโดยลำดับ กษัตริย์ในสยามประเทศ ถึงกาลกำหนดนักขัตฤกษ์ วันเพ็ญเดือน 12 ให้นำโคมลอยเป็นรูปดอกบัว อุทิศสักการบูชาพระพุทธบาทนัมมทานที ตราบเท่ากัลปาวสาน” ด้วยเหตุนี้ เราจึงเห็นโคมลอยรูปดอกบัวปรากฏมาจนปัจจุบัน


ตำนานและความเชื่อ จากที่กล่าวมาข้างต้นว่า การลอยกระทง ในแต่ละท้องที่ก็มาจากความเชื่อ ความศรัทธาที่แตกต่างกัน บางแห่งก็มีตำนานเล่าขานกันต่อๆมา ซึ่งจะยกตัวอย่างบางเรื่องมาให้ทราบ ดังนี้
เรื่องแรก ว่ากันว่าการลอยกระทง มีต้นกำเนิดมาจากศาสนาพุทธนั่นเอง กล่าวคือก่อนที่พระพุทธองค์จะตรัสรู้ เป็นสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ประทับอยู่ใต้ต้นโพธิ์ ใกล้แม่น้ำเนรัญชรา กาลวันหนึ่ง นางสุชาดาอุบาสิกาได้ให้สาวใช้นำข้าวมธุปายาส (ข้าวกวนหุงด้วยน้ำผึ้งหรือน้ำอ้อย) ใส่ถาดทองไปถวาย เมื่อพระองค์เสวยหมดแล้ว ก็ทรงตั้งสัตยาธิษฐานว่า ถ้าหากวันใดจะสำเร็จเป็นพระพุทธเจ้า ก็ขอให้ถาดลอยทวนน้ำ ด้วยแรงสัตยาธิษฐาน และบุญญาภินิหาร ถาดก็ลอยทวนน้ำไปจนถึงสะดือทะเล แล้วก็จมไปถูกขนดหางพระยานาคผู้รักษาบาดาล
พระยานาคตื่นขึ้น พอเห็นว่าเป็นอะไร ก็ประกาศก้องว่า บัดนี้ได้มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อุบัติขึ้นในโลกอีกองค์แล้ว ครั้นแล้วเทพยดาทั้งหลายและพระยานาค ก็พากันไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า และพระยานาคก็ได้ขอให้พระพุทธองค์ ประทับรอยพระบาทไว้บนฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา เพื่อพวกเขาจะได้ขึ้นมาถวายสักการะได้ พระองค์ก็ทรงทำตาม ส่วนสาวใช้ก็นำความไปบอกนางสุชาดา ครั้นถึงวันนั้นของทุกปี นางสุชาดาก็จะนำเครื่องหอม และดอกไม้ใส่ถาดไปลอยน้ำ เพื่อไปนมัสการรอยพระพุทธบาทเป็นประจำเสมอมา และต่อๆ มาก็ได้กลายเป็นประเพณีลอยกระทง ตามที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน
ในเรื่องการประทับรอยพระบาทนี้ บางแห่งก็ว่า พญานาคได้ทูลอาราธนาพระพุทธเจ้า ไปแสดงธรรมเทศนาในนาคพิภพ เมื่อจะเสด็จกลับ พญานาคได้ทูลขออนุสาวรีย์จากพระองค์ไว้บูชา พระพุทธองค์จึงได้ทรงอธิษฐาน ประทับรอยพระบาทไว้ที่หาดทรายแม่น้ำนัมมทา และพวกนาคทั้งหลาย จึงพากันบูชารอยพระพุทธบาทแทนพระองค์ ต่อมาชาวพุทธได้ทราบเรื่องนี้ จึงได้ทำการบูชารอยพระบาทสืบต่อกันมา โดยนำเอาเครื่องสักการะใส่กระทงลอยน้ำไป ส่วนที่ว่าลอยกระทงในวันเพ็ญ เดือน 11 หรือวันออกพรรษา เพื่อเฉลิมฉลองวันคล้ายวันที่พระพุทธเจ้า เสด็จกลับมาสู่โลกมนุษย์ หลังการจำพรรษา 3 เดือน ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อแสดงอภิธรรมโปรดพุทธมารดานั้น ก็ด้วยวันดังกล่าว เหล่าทวยเทพและพุทธบริษัท พากันมารับเสด็จนับไม่ถ้วน พร้อมด้วยเครื่องสักการบูชา และเป็นวันที่พระพุทธองค์ได้เปิดให้ประชาชนได้เห็นสวรรค์ และนรกด้วยฤทธิ์ของพระองค์ คนจึงพากันลอยกระทง เพื่อเฉลิมฉลองรับเสด็จพระพุทธเจ้า
สำหรับคติที่ว่า การลอยกระทงตามประทีป เพื่อไปบูชาพระเกศแก้วจุฬามณี บนสรวงสรรค์ชั้นดาวดึงส์นั้น ก็ว่าเป็นเพราะตรงกับวันที่พระพุทธเจ้า เสด็จออกบรรพชาที่ริมฝั่งแม่น้ำอโนมา ทรงใช้พระขรรค์ตัดพระเกศโมลีขาด ลอยไปในอากาศตามที่ทรงอธิษฐาน พระอินทร์จึงนำผอบแก้วมาบรรจุ แล้วนำไปประดิษฐานไว้ในจุฬามณีเจดีย์ บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ (ตามประทีป คือ การจุดประทีป หรือจุดไฟในตะเกียง /โคม หรือผาง-ถ้วยดินเผาเล็กๆ) ซึ่งทางเหนือของเรา มักจะมีการปล่อยโคมลอย หรือโคมไฟที่เรียกว่า ว่าวไฟ ขึ้นไปในอากาศเพื่อบูชาพระเกศแก้วจุฬามณีด้วย
เรื่องที่สอง ตามตำราพรหมณ์คณาจารย์กล่าวว่า พิธีลอยประทีปหรือตามประทีปนี้ แต่เดิมเป็นพิธีทางศาสนาพราหมณ์ ทำขึ้นเพื่อบูชาเทพเจ้าทั้งสามคือ พระอิศวร พระนารายณ์และพระพรหม เป็นประเภทคู่กับลอยกระทง ก่อนจะลอยก็ต้องมีการตามประทีปก่อน ซึ่งตามคัมภีร์โบราณอินเดียเรียกว่า “ทีปาวลี” โดยกำหนดทางโหราศาสตร์ว่า เมื่อพระอาทิตย์ถึงราศีพิจิก พระจันทร์อยู่ราศีพฤกษ์เมื่อใด เมื่อนั้นเป็นเวลาตามประทีป และเมื่อบูชาไว้ครบกำหนดวันแล้ว ก็เอาโคมไฟนั้นไปลอยน้ำเสีย ต่อมาชาวพุทธเห็นเป็นเรื่องดี จึงแปลงเป็นการบูชารอยพระพุทธบาท และการรับเสด็จพระพุทธเจ้า ดังที่กล่าวมาข้างต้น โดยมักถือเอาเดือน 12 หรือเดือนยี่เป็งเป็นเกณฑ์ (ยี่เป็งคือเดือนสอง ตามการนับทางล้านนา ที่นับเดือนทางจันทรคติ เร็วกว่าภาคกลาง 2 เดือน)
เรื่องที่สาม เป็นเรื่องของพม่า เล่าว่า ครั้งหนึ่งในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ทรงมีพระประสงค์จะสร้างเจดีย์ให้ครบ 84,000 องค์ แต่ถูกพระยามารคอยขัดขวางเสมอ พระองค์จึงไปขอให้พระอรหันต์องค์หนึ่ง คือ พระอุปคุตช่วยเหลือ พระอุปคุตจึงไปขอร้องพระยานาคเมืองบาดาลให้ช่วย พระยานาครับปาก และปราบพระยามารจนสำเร็จ พระเจ้าอโศกมหาราช จึงสร้างเจดีย์ได้สำเร็จสมพระประสงค์ ตั้งแต่นั้นมา เมื่อถึงวันเพ็ญเดือน 12 คนทั้งหลายก็จะทำพิธีลอยกระทง เพื่อบูชาคุณพระยานาค เรื่องนี้ บางแห่งก็ว่า พระยานาค ก็คือพระอุปคุตที่อยู่ที่สะดือทะเล และมีอิทธิฤทธิ์มาก จึงปราบมารได้ และพระอุปคุตนี้ เป็นที่นับถือของชาวพม่า และชาวพายัพของไทยมาก
เรื่องที่สี่ เกิดจากความเชื่อแต่ครั้งโบราณในล้านนาว่า เกิดอหิวาต์ระบาด ที่อาณาจักรหริภุญชัย ทำให้คนล้มตายเป็นจำนวนมาก พวกที่ไม่ตายจึงอพยพไปอยู่เมืองสะเทิม และหงสาวดีเป็นเวลา 6 ปี บางคนก็มีครอบครัวอยู่ที่นั่น ครั้นเมื่ออหิวาต์ได้สงบลงแล้ว บางส่วนจึงอพยพกลับ และเมื่อถึงวันครบรอบที่ได้อพยพไป ก็ได้จัดธูปเทียนสักการะ พร้อมเครื่องอุปโภคบริโภคดังกล่าวใส่ สะเพา ( อ่านว่า “ สะ - เปา หมายถึง สำเภาหรือกระทง ) ล่องตามลำน้ำ เพื่อระลึกถึงญาติที่มีอยู่ในเมืองหงสาวดี ซึ่งการลอยกระทงดังกล่าว จะทำในวันยี่เพง คือ เพ็ญเดือนสิบสอง เรียกกันว่า การลอยโขมด แต่มิได้ทำทั่วไปในล้านนา ส่วนใหญ่เทศกาลยี่เพงนี้ ชาวล้านนาจะมีพิธีตั้งธัมม์หลวง หรือการเทศน์คัมภีร์ขนาดยาวอย่างเทศน์มหาชาติ และมีการจุดประทีปโคมไฟอย่างกว้างขวางมากกว่า (การลอยกระทง ที่ทางโบราณล้านนาเรียกว่า ลอยโขมดนี้ คำว่า “ โขมด อ่านว่า ขะ-โหมด เป็นชื่อผีป่า ชอบออกหากินกลางคืน และมีไฟพะเหนียงเห็นเป็นระยะๆ คล้ายผีกระสือ ดังนั้น จึงเรียกเอาตามลักษณะกระทง ที่จุดเทียนลอยในน้ำ เห็นเงาสะท้อนวับๆ แวมๆ คล้ายผีโขมดว่า ลอยโขมด ดังกล่าว)
รื่องที่ห้า กล่าวกันว่าในประเทศจีนสมัยก่อน ทางตอนเหนือ เมื่อถึงหน้าน้ำ น้ำจะท่วมเสมอ บางปีน้ำท่วมจนชาวบ้านตายนับเป็นแสนๆ และหาศพไม่ได้ก็มี ราษฎรจึงจัดกระทงใส่อาหารลอยน้ำไป เพื่อเซ่นไหว้ผีเหล่านั้นเป็นงานประจำปี ส่วนที่ลอยในตอนกลางคืน ท่านสันนิษฐานว่า อาจจะต้องการความขรึม และขมุกขมัวให้เห็นขลัง เพราะเป็นเรื่องเกี่ยวกับผีๆสางๆ และผีก็ไม่ชอบปรากฏตัวในตอนกลางวัน การจุดเทียนก็เพราะหนทางไปเมืองผีมันมืด จึงต้องจุดให้แสงสว่าง เพื่อให้ผีกลับไปสะดวก ในภาษาจีนเรียกการลอยกระทงว่า ปล่อยโคมน้ำ (ปั่งจุ๊ยเต็ง) ซึ่งตรงกับของไทยว่า ลอยโคม จากเรื่องข้างต้น เราจะเห็นได้ว่า การลอยกระทง ส่วนใหญ่จะเป็นการแสดงความกตัญญู ระลึกถึงผู้มีพระคุณต่อมนุษย์ เช่น พระพุทธเจ้า เทพเจ้า พระแม่คงคา และบรรพชน เป็นต้น และแสดงความกตเวที (ตอบแทนคุณ) ด้วยการเคารพบูชาด้วยเครื่องสักการะต่างๆ โดยเฉพาะการบูชาพระพุทธเจ้า หรือรอยพระพุทธบาท ถือได้ว่าเป็นคติธรรมอย่างหนึ่ง ที่บอกเป็นนัยให้พุทธศาสนิกชน ได้เจริญรอยตามพระบาทของพระพุทธองค์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งความดีงามทั้งปวงนั่นเอง
ประเพณีลอยกระทง นอกจากจะเป็นประเพณีที่มีคุณค่า ในเรื่องการแสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที ต่อผู้มีพระคุณดังที่กล่าวมาแล้ว ประเพณีนี้ยังมีคุณค่าต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และศาสานาด้วย เช่น ทำให้สมาชิกในครอบครัวได้ใช้เวลาร่วมกัน ทำให้ชุมชนได้ร่วมมือร่วมใจกันจัดงาน หรือในบางท้องที่ที่มีการทำบุญ ก็ถือว่ามีส่วนช่วยสืบทอดพระศาสนา และในหลายๆ แห่งก็ถือเป็นโอกาสดีในการรณรงค์อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในแม่น้ำลำคลองไปด้วย
ขอขอบคุณข้อมูลข่าว : อมรรัตน์ เทพกำปนาท สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม
ลอยกระทงออนไลน์ ลอยกระทงในเน็ต สำหรับชาวกรุงเทพฯ และพื้นที่ที่ยังมีน้ำท่วมขัง เพื่อลดขยะที่จะเกิดขึ้นซึ่งจะยิ่งทำให้การระบายน้ำช้าลง คลิกที่นี่หรือที่รูปด้านล่างเพื่อ ลอยกระทงออนไลน์ กับสนุกดอทคอม ได้เลย


ครีมหน้าใส” อื่นๆ :ครีมสาหร่ายครีมนมข้าวครีมน้ำนมข้าวครีมกันแดดซิลิโคน,ครีมหน้าใสเซรั่ม ขาว ใส ยกกระชับครีมตัวขาวครีม เซรั่ม ใต้ตาเจล หน้าใส ยกกระชับ ปรับผิวขาวสบู่หน้าใสครีม เซรั่ม เจล ลดสิวบรรจุภัณฑ์สติกเกอร์ โลโก้ ครีมหน้าใสผิวขาว , ครีมหน้าขาว ,ครีมมะหาดครีมนมผึ้งครีมน้ำนมผึ้ง






กด Link(ถูกใจ) หน้า page ครีมสาหร่าย สอบถามอัพเดตข่าวสาร ได้ที่ หน้า page นี้เลยนะค่ะ

 




วันจันทร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556

เรียนรู้ภาษาอังกฤษ กับ วันออกพรรษา

Origin
 
           Buddhist Lent Day mars the beginning of the annual retreat for monks as laid down by Lord Buddha more than twenty-five centuries ago. On that day all monks take a vow to stay in a particular place or temple for three months from the first Day of the Waning moon in the
8th Month to the 15th Day of the Waxing Moon in the 11th Month.  It coincides with the rainy season during which the monks are not allowed to stay overnight anywhere else, except in exceptional cases based on reasons granted by Lord Buddha.
 
           Buddhist Lent day means the day on which the Buddhist monks take the vow to stay only at one particular place or temple which can shelter them from the sun, storms and rain.
 
Significance
 
           For Buddhism and its followers, Buddhist Lent has the following important characteristics :
           1. Buddhist monks who have been travelling from place to place have totake up shelter in a particular place, according to Lord Buddha’s discipline.
           2. Buddhist monks who stay at a particular place for a length of time shall teach young boys who wish to be ordained in order to study the Buddhist Doctrine and preach to lay followers.
           3. During the Buddhist Lent, lay followers refrain from bad actions, in particular drinking alcohol, taking drugs or leading an inappropriate life.
           4. During the Buddhist Lent, laymen acquire merit, observe five or eight precepts, listen to sermons and sit in meditation in temples.
 
Historical Background
 
Lord Buddha’s Motives for Laying Down the Discipline of the Buddhist Lent
 
           When Lord Buddha was staying at Veluvana Temple in Rajagriha City of Magadha State, a group of people complained to Lord Buddha that the Buddhist monks did not act appropriately, as they kept travelling even in the rainy season, walking through the rice fields, and damaging the farmer’s paddies, while ordained people of other religions stopped travelling and took retreat. Lord Buddha held a meeting, the Buddhist monks discussed the matter, and in the end Lord Buddha formulated the rule enforcing all Buddhist monks to take retreat during the rainy season by uttering the following words :
 
                             “Anujanami Bhikkhave Vassang Upagantung.”
                             O Bhikkhus, I allow you to observe the Lent Retreat.
 
           Buddhist Lent Day usually falls on the 1st Waning Moon Day of the 8th Month and the retreat ends on the 15th Waxing Moon day of the 11th Month, which is also known as the First Buddhist Lent Day (Purima Pansa). In some years, two Eight Lunar Months occur, and in that case, Buddhist Lent Day is postponed to the 1st Waning Moon of the 2nd Eight Month, or the 1st Waning Moon Day of the Ninth Month (Pajchima Pansa) until the 15th Waxing Moon Day of the 12th Month, which is the end of the Second Buddhist Lent (Pajchima Pansa).
 
Practices for Laymen during the Buddhist Lent Retreat
 
           In the past, the majority of the Thai people were farmers. They began their work in the fields before the rainy season, and by the time Buddhist monks took the vow to observe the Lent retreat, all farmers were free and could go to temples. There were no modern means of transportation, and the rivers and canals were full of water which enforced a sedentary life upon the farmers, during which they observed five or eight precepts, made offering to the monks, listened to sermons and practised meditation.
 
           In the temples, which were located near the farmers’ houses, the monks would accept their offerings for their stay during the Buddhist Lent, and preach the Buddhist Doctrine, strengthen the faith of the people to acquire merit, observe the precepts and develop mindfulness by sitting in meditation.
 
           The Thai people have been known to observe Buddhist lent since the Sukhothai period, of which the stone inscription made in the reign of King Ramkhamhaeng the Great is historical evidence. It reads as follows :
 
           “King Ramkhamhaeng of Sukhothai together with his noblemen and commoners, both men and women from all walks of life, had great faith in Buddhism and observed the precepts during Buddhist Lent.”
 
           Besides observing the precepts, Thai Buddhists acquired merit during the annual retreat by observing local customs which were recorded in a book ascribed to the well-known Nang Noppamas as follows:
          
           “In the 8th Month a religious rite was held to mark Buddhist Lent, during which Buddhist monks stayed at their temples for the rainy season. At Royal temples, the King commanded his courtiers to look after the monks’ shelters, offer suitable beds, chairs, mats, bathing clothes, food, medicines, joss-sticks and candles, so that they could pay homage to the Triple Gem. The people of Sukhothai also made merit at the temples built by their ancestors.”
 
           The celebration of Buddhist Lent evolves around two important religious rites which will be described here :
 
1. The Candle Procession
 
           This tradition derived out of a need in the old society when electricity was not available to provide light for the large number of monks staying at temples, to say early morning as well as evening prayers and to promote religious study at night. Laymen, therefore, prepared large candles intended for use in temples throughout lent. These especially large candles known as Buddhist Lent Candles were also meant to be offerings to Lord Buddha.
           Before offering Buddhist Lent Candles to the temple, the laymen celebrate and take the big candles out in a traditional procession which is practised even today, particularly in the north-eastern region of Thailand. The significance of this traditional ceremony has been summarised in Nang Noppamas’ book as follows :
 
           “On the 14th Day of Waning Moon of the 7th Month, the army and navy joined in a procession to carry the candles for Buddhist lent to the temples. In the army’s procession, the candles were carried on a palanquin painted with Thai designs, and in the navy’s procession the candles were placed in open-pillared wooden pavilions installed on Royal barges decorated with beautiful coloured flags. The procession moved to the sound of music from conch shells and the beat of drums. At the temple, the candles were offered to the monks, and placed in the Dharma Towers, in the main chapels, and the small chapels where the candles were lit to give light throughout three months.”
 
           This practice was followed even at commoners’ temples, and today, the procession of Candles for the Buddhist Lent is still practised in some provinces, especially in Ubon Ratchathani, where it is an important tradition. In Ubon Ratchathani, candle-making contests are organised every year, and the Candle Procession is an event that attracts many visitors to the province, especially from overseas who admire the intricate carvings and indigenous designs on the large Lenten Candles.
 
 
 
2.   The Offering of the Rain-Bathing Cloth
 
           The tradition of offering the rain-bathing cloth dates back to the time of Lord Buddha, and was initiated by the Great Benefactress Visakha. One day when she was visiting the temple, it was raining, and Visakha saw many monks bathing in the rain without any clothing. She thought that this was not appropriate and asked Lord Buddha to allow her to make an offering of rain-bathing cloths to the Buddhist monks. It has become a tradition ever since to offer rain-bathing cloths to the monks on Buddhist Lent Day.
 
           The tradition is said to have been introduced into Thai society in the Sukhothai period more than 750 years ago. Therefore, on Buddhist Lent Day, Thai Buddhists take the rain-bathing cloths together with food and other necessities, for the monks’ life to be offered to the monks. Even today, the religious function is observed annually, and villagers’ leaflets often schedule in their programme the Offering of Rain-bathing Cloth (Vassikasadok), and other offerings at their Preaching Halls in temples near their homes.
 
 
 
 
 
The Important Principles of Dharma to be Followed During the Lent
 
           Thai people practise Buddhist Lent by going to temples, offering alms to the monks, observing five or eight precepts, listening to the Dharma and practising meditation. The aim of the practice is to refrain from doing evil, increase good and purify one’s mind. One of the most important principles of Dharma that is contained in this practice is the abstention from evil, or “Virati.”
 
           The word Virati means to refrain from all kinds of sins and evil. That is an important virtue which leads to peace, happiness, safety and prosperity in life.
 
Virati is divided into three categories as follows :
 
1.      Sampattavirati meaning abstention from all kinds of sins and vices by feeling shamed of committing sin (Hiri) and by feeling frightened to do evil (Ottappa). Such feelings automatically occur in one’s mind. For example the person who has undertaken the precept, e.g. the fifth of the five precepts, not to drink any intoxicants, when invited by his friends to drink liquor, will refuse to do so, because he feels ashamed of doing so and frightened to do so, and as he is mindful, he knows that as a good Buddhist he must not drink alcohol during Buddhist Lent.
 
2.      Samadanavirati meaning abstention from doing all kinds of evil by undertaking Five of Eight Precepts given by the Buddhist monks. A person who has undertaken the Five or Eight Precepts is mindful and has right effort not to violate or avoid any precept even when tempted to do so. He remains imperturbed and never feels victimized.
 
3.      Samujchedavirati meaning absolute and permanent abstention from all kinds of sins and evil, which is the Virtue of Buddhist saints. Samujchedavirati may be practised by all lay persons who can refrain from sins and evil during Buddhist Lent, and after Lent they do not change their minds, they have reached absolute and permanent abstention from sins and evil, for example, if they took the vow to abstain from drinking liquor during the Lent, and hence stop drinking liquor for the rest of their lives, they have reached this stage of Virati.
          
Objectives
 
The objectives of observing the annual Buddhist Lent can be summarised as follows :
1.        To educate the Buddhists and to encourage them to understand the significance of the Buddhist Lent, namely the three principles of Virati and its practice.
 
2.        To encourage right thinking and right action among the Buddhists, including the ability to apply the principles of Virati Dharma in their daily lives for self-improvement and social development.
 
3.        To promote among Buddhists right understanding of Buddhist Lent in order to realise the value of living in accordance with the three principles of Virati Dharma.
 
4.        To motivate Buddhists to have firm faith in Buddhism and to thoroughly understand the significance of their own religion.
 
5.        To encourage the Thai Buddhists to be qualified Buddhists and to do their Buddhist duties.
 
 
 
 
 
 
Suggestions for Cultural Activities on Buddhist Lent Day
 
Activities for Families:
 
1.        Cleaning the house, hoisting the national flag and the Dharmachakra         flag, setting up an altar in the house.                
2.        Studying religious texts, and discussing the importance of Buddhist Lent, including the three principles of Virati Dharma as well as giving advice on relevant activities for the family.
3.        Consultation among members of the family to prevent any crises and to solve problems with the help of Virati Dharma and encourage the family members to lessen, avoid and cease doing all kinds of evil.
4.        Taking the Family members to acquire merit by offering alms to Buddhist monks and donating necessities to the needy.
5.        Visiting temples to practise Dharma, observe the precepts and pray, listen to sermons and meditate.
6.        Organising other appropriate activities.
 
 
Activities for Education Institutions :
 
1.        Cleaning the vicinity of the school, hoisting the national flag and the Dharmachakra flag, setting up an altar.
2.        Teachers and students jointly study the significance of Buddhist Lent Day, the three principles of Virati Dharma and give advice on practising the Dharma at the institute.
3.        Teachers and students jointly organise exhibitions or make posters or picture books on the importance of the day or hold essay contests, quiz programmes and panel discussions on the Dharma.
4.        Teachers assign students to write reports on good and bad behaviour in order to develop the students, ability to distinguish between good and bad behaviour, and to foster good behaviour in the society.
5.        Announcement of awards to honour outstanding students as good examples.
6.        Teachers accompany students to participate with other people in activities at temples to acquire merit by offering alms and donations, observing the five precepts, listening to sermons, joining conversations on Dharma, and sitting in meditation.
7.        Organising other appropriate activities.
 
Activities at Offices :
 
1.        Cleaning offices, hoisting the national and Dharmachakra flags, and setting up altars.
2.        Public relations of the importance of the Buddhist Lent day, the three principles of the virati Dharma, and suggestions to practise Dharma at offices.
3.        Organising panel discussions and conversation on Dharma.
4.        Participation in Public activities, such as planting trees, and donating blood.
5.        Executives allow their subordinates to take part in traditional merit-making.
6.        Displaying posters on working ideals free from corruption and other misconduct.
7.        Organising other appropriate activities.
 
Social Activities :
 
1.        Temples, foundations, offices, organisations and the mass media create awareness of the importance of Buddhist Lent Day through publication in the mass media.
2.        Publication of documents, such as leaflets and booklets about the significance of Buddhist Lent Day, and the three principles of the Virati Dharma and other Dharma practices to be distributed to the public in residential areas, and public places, airports, railways stations, bus terminals, Dharma preaching halls, department stores, and public vehicles.
3.        Inviting people to take part in merit-making, Dharma practice, religious      rites, offering alms, listening to sermons, observing the precepts and praying.
4.        Campaign through the mass media to urge people to lessen, avoid and cease doing all kinds of sins, and to stop the sale of intoxicants and narcotics.
5.        Announcement of awards given to persons for outstanding contributions to the society.
6.        Organising environmental preservation, tree planting and cleanliness campaigns.
7.        Organising contests to promote prayer recitation. Dharma lectures, composition of slogans, poems, and writing articles on Buddhist Lent.
8.        Organising other appropriate activities.
 
Expected Result
 
1.        Buddhists will receive more knowledge on Buddhism, and understand it better, especially the three principles of Virati Dharma.
2.        Buddhists will receive right understanding about Buddhist Lent         Day and realise the value of living in accordance with the                principles of the three Virati Dharma practice.
3.        Buddhists will have a better faith in Buddhism and the right      attitude towards Buddhism.
4.        The Buddhists will be better-qualified to perform their Buddhist        duties in a correct manner.

 

วันออกพรรษา
วันออกพรรษา ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11หรือราวเดือนตุลาคม
วันออกพรรษา เป็นวันที่พุทธบริษัททั้งชาววัดและชาวบ้าน ได้พร้อมใจกันกระทำบุญกุศลต่าง ๆ ตามคติประเพณีที่เคยประพฤติปฏิบัติสืบ ๆ กันมาแต่โบราณกาล เช่นมีการตักบาตรเทโว หรือเรียกตักบาตรดาวดึงส์ เป็นต้น วันออกพรรษา มีสาเหตุเนื่องมาจาก
วันเข้าพรรษา ที่มีมาแล้วเมื่อวันแรม ๑ ค่ำเดือน ๘ อันเป็นวันที่พระภิกษุทั้งหลายอธิษฐานใจเข้าอยู่พรรษาครบไตรมาส คือ ๓ เดือน ตามพระพุทธบัญญัติ โดยไม่ไปค้างแรมค้างคืนนอกสถานที่ที่ท่านตั้งใจอยู่ไว้ เมื่อมีวันเข้าพรรษาก็จำเป็นต้องมีวันออกพรรษา ซึ่งวันออกพรรษา ซึ่งวันออกพรรษาตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๑๑ (เพ็ญเดือน ๑๑) ของทุกปี วันออกพรรษา เป็นวันสุดท้ายแห่งการจำพรรษาของพระภิกษุสงฆ์ หมายถึง พระภิกษุสงฆ์ได้จำพรรษาครบกำหนดไตรมาส ตามพระพุทธบัญญัติแล้ว ท่านมีสิทธิ์ที่จะจาริกไปพักค้างคืนที่อื่นได้ ไม่ผิดพระพุทธบัญญัติและยังได้รับอานิสงส์ (ผลดี) คือ ไป ไหนไม่ต้องบอกลา ๑ ไม่ต้องถือผ้าไตรครบชุด ๑ ลาภที่เกิดขึ้นแก่ท่านมีสิทธิ์รับได้ ๑ มีโอกาสได้อนุโมทนากฐินและได้รับอานิสงส์ คือได้รับการขยายเวลาของอานิสงส์นั้นออกไปอีก ๔ เดือน
อนึ่งมีชื่อเรียกวันออกพรรษาอีกอย่างหนึ่งว่า วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา มี ความหมายว่าพระภิกษุทั้งหลายทั้งพระผู้ใหญ่และพระผู้น้อย ต่างเปิดโอกาสอนุญาตแก่กันและกัน ให้ว่ากล่าวตักเตือนกันได้มีคำกล่าวปวารณาเป็นภาษาลี ว่า สังฆัมภันเต ปะวาเรมิ ทิฎเฐนะ วา สุเตนะ วาปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัส์มันโต อะนุกัทปัง อุปาทายะ ปัสสันโต ปฎิกะริสสามิ แปลว่า ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ กระผมขอปวารณาต่อสงฆ์ ด้วยได้เห็นหรือได้ฟังก็ตาม ขอท่านทั้งหลายโปรดอนุเคราะห์ ว่ากล่าวตักเตือนกระผมด้วย เมื่อกระผมมองเห็นแล้ว จักประพฤติตัวเสียเลยใหม่ให้ดี การที่พระท่านกล่าวปวารณา (ยอมให้ว่ากล่าวตักเตือน) กันไว้
ในเมื่อต่างองค์ต่างต้องจากกันไปองค์ละทิศละทางท่านเกรงว่าอาจมีข้อ ประพฤติปฏิบัติที่ไม่ดีไม่งามเกิดขึ้น โดยตัวท่านเองรู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือมองไม่เห็นเหมือนผงเข้าตาตัวเอง แม้ผลจะอยู่ชิดติดกับลูกนัยน์ตา เราก็ไม่สนผลนั้นได้ จำเป็นต้องไหว้วานขอร้องผู้อื่นให้มาช่วยดูหรือต้องใช้กระจกส่องดู เพราะฉะนั้น พระท่านจึงใช้วิธีการกล่าวปวารณาตัดไว้เพื่อท่านรูปอื่นได้เห็นหรือแม้แต่ ได้ยินได้ฟัง เรื่องดีไม่ดีไม่งามอะไรก็ตาม ให้กล่าวแนะนำตักเตือนได้โยไม่ต้องเกรงใจกันทั้งผู้ใหญ่และผู้น้อยด้วยเจตนา ดีต่อกัน คือ พระผู้ใหญ่ก็กล่าวตักเตือนพระผู้น้อยได้ และพระผู้มีอาวุโสน้อยก็สามารถกล่าวชี้แนะถึงข้อไม่ดีของพระผู้ใหญ่ได้เช่น กัน โดยที่พระผู้ใหญ่คือผู้มีอาวุโส ท่านก็มิได้สำคัญตนผิดคิดว่าท่านทำอะไรแล้วถูกไปหมดทุกอย่าง การกล่าวปวารณา เท่ากับเป็นการช่วยระมัดระวังข้อประพฤติปฏิบัติที่ไม่ดีของพระรูปหนึ่ง ซึ่งเป็นจุดน้อยๆ นี้ที่จะลุกลามก่อความเสื่อมเสียไปถึงพระหมู่มาก และลุกลามไปถึงพระพุทธศาสนาอันเป็นจุดศูนย์ที่ใหญ่ได้ ท่านจึงใช้วิธีป้องกันไว้ก่อน ดีกว่าการแก้ไขในภายหลัง ตัวอย่าง วันออกพรรษาหรือวันมหาปวารณาที่พระภิกษุทั้งหลายกระทำเช่นนี้ เป็นเครื่องมือชี้ให้เห็นวิธีการคอยสังวร คือ ตามระวัง ไม่ประมาท ไม่ยอมให้ความเลวร้ายเกิดขึ้นได้ เหมือนล้อมรั้วไว้ก่อนที่วัวจะหายไม่ว่าจะอยู่ในเทศกาลเข้าพรรษาหรือออก พรรษา พระท่านจะประพฤติดี ปฏิบัติชอบตามระบอบของพระธรรมวินัยอยู่ตลอดเวลา ส่วนพิธีของฆราวาสนั้นควรจะนำเอาพิธีปวารณาของพระท่านมาใช้ดูบ้าง ซึ่งจะมีผลดีที่เกิดขึ้นแก่กลุ่มชนที่อยู่รวมกัน ไม่ว่าครอบครัวและสังคมต่าง ๆ
มีพิธีกรรมของฆราวาสที่เกี่ยว เนื่องกันในวันออกพรรษานี้ก็ได้แก่การบำเพ็ญบุญกุศลต่าง ๆ เช่น การทำบุญตักบาตร รักษาศีล ฟังธรรม ณ วัดที่อยู่ใกล้เคียง มีการทำบุญอันเป็นประเพณีที่นิยมกระทำกันมานานแล้วในวันออกพรรษา ซึ่งเรียกว่า ตักบาตรเทโว หรือเรียกชื่อเต็มตามคำพระว่า เทโวโรหนะ แปลว่าการหยั่งลงจากเทวโลก หรือการตักบาตรนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ตักบาตรดาวดึงส์ และการตักบาตรเทโวนี้ จะกระทำในวันขึ้น ๑๕ เดือน ๑๑ หรือวันแรม ๑ ค่ำเดือน ๑๑ ก็ได้สุดแท้แต่จะเห็นพร้อมกัน
การทำบุญตักบาตร เทโวนี้ ท่านจัดเป็นกาลนาน คือ หนึ่งปีมีหนึ่งครั้ง และการกระทำบุญเช่นนี้ โดยยึดถือว่าเป็นวันคล้ายกับวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากเทวโลก ตามตำนานกล่าวว่า เมื่อก่อนพุทธศักดิ์ราช พระพุทธเจ้าเสด็จขึ้นไปจำพรรษา ณ บัณฑุกัมพลศิลาอาสน์ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เพื่อทรงเทศนา พระสัตตปรณาภิธรรม คือพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ โปรดพระพุทธมารดา (ซึ่งทรงบังเกิดอยู่ในสวรรคชั้นดุสิต) ครั้นครบกำหนดการทรงจำพรรษาครบ ๓ เดือน พระพุทธเจ้าทรงปวารณาพระวัสสาแล้วเสด็จลงจากดาวดึงส์เทวโลกมาสู่มนุษย์โลก ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๑๑ โดย เสด็จลงทางบันไดแก้วทิพย์ ซึ่งตั้งระหว่างกลางของนับไดทองทิพย์ อยู่เบื้องขวาบันไดเงินทิพย์อยู่เบื้องซ้ายและหัวบันไดทิพย์ที่เทวดาเนรมิต ขึ้นทั้ง ๓ พาด บนยอดเขาพระสิเนรุราช อันเป็นที่ตั้งแห่งสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ส่วนเชิงบันไดตั้งอยู่บนแผ่นศิลาใหญ่ใกล้ประตู เมืองสังกัสสนครและสถานที่นั้นประชาชนถือว่าเป็นศุภนิมิตรสร้างพระเจดีย์ ขึ้นเป็น พุทธบูชานุสาวรีย์ เรียกว่า อจลเจดีย์
การประกอบพิธีในวันออกพรรษา การประกอบพิธีในวันสำคัญนี้ เหล่าพุทธศาสนิกชนจะนิยมทำบุญกุศลเป็นกรณีพิเศษ เช่น ตักบาตรในตอนเช้า ถวายสังฆทาน ไปทำบุญที่วัด ถวายภัตตาหาร ฟังพระธรรมเทศนา และมีการตักบาตรเทโวในวันรุ่งขึ้น

ข้อปฏิบัติทั่วไปสำหรับพุทธศาสนิกชนในวันออกพรรษา

1.ทำบุญตักบาตรในตอนเช้า
2.ไปวัดเพื่อฟังพระธรรมเทศนา
3.ทำความสะอาดบ้านเรือน สถานที่ราชการ มีการประดับธงชาติและธงธรรมจักร 4.ตามสถานที่ราชการสถานที่ศึกษาและที่วัด ควรจัดให้มีนิทรรศการ การบรรยายฉายสไลต์ หรือบรรยายธรรม เกี่ยวกับวันออกพรรษา ฯลฯ เพื่อให้ความรู้แก่ ประชาชนและผู้สนใจทั่วไป

วันพฤหัสบดีที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2556

คัดข่าวเด่นประเด็นฮอตในรอบสัปดาห์กับ Sanook! Social News หวิว ชุดว่ายน้ำ มิสไทยแลนด์เวิลด์ 2013


คัดข่าวเด่นประเด็นฮอตในรอบสัปดาห์กับ Sanook! Social News วันที่ 20 มีนาคม 2556 เริ่มต้นด้วยเรื่องราวสุดแปลก!!ของสาวอินเดียที่แต่งงานกับผู้ชาย 5 คนและทุกคนเป็นพี่น้องกันหมด แต่หมดปัญหาเรื่องการร่วมหลับนอน  ถัดมาเป็นเรื่องสุดอื้อฉาวในเกาหลีใต้เรื่องมีภาพหญิงสาวในชุดบิกินี่ว่อนอยู่ในโลกออนไลน์ว่าเป็นเหยื่อที่ถูกพระเอก ปาร์คซีฮู ข่มขืนงานนี้ยังไม่รู้จะยังไง สุดท้ายมาชมภาพสวย ๆ ของผู้ประกวดมิสไทยแลนด์เวิลด์ ปี 2013  มาชมแบบเต็ม ๆ ได้เลย!!!

ติดตามข่าวด่วน เกาะกระแสข่าวดัง บน Facebook คลิกที่นี่!!

ติดตาม อัพเดตเทรนด์ เครื่องสำอาง แต่งหน้า ได้ที่http://www.chivabeauty.com/
 ลิปสติกบีบีครีมแป้งพับอายแชโดว์ มาสคาร่าอายไลน์เนอร์บลัชออน,ยาทาเล็บ , ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมอุปกรณ์แต่งหน้ามาส์คน้ำหอม แท้ 100, ผิวขาว



แหล่งรวมผลิตภัณฑ์ครีมสาหร่ายดูแล “ผิวขาว” เปล่งประกายออร่า : www.chivabeauty.com

สปาผิวขาว คอร์สผิวขาว คอร์สเจ้าสาว ดูแลผิวเองได้แล้วที่บ้าน

ครีมหน้าใส ผิวขาว สำหรับเตรียมพร้อมผิวก่อนเป็นดารา นักร้อง นักแสดง www.chivabeauty.com

ติดตามอัพเดตผลิตภัณฑ์สำหรับผิวสวยของคุณได้ ตลอด 24 hr ผ่านทาง facebook fanpage

facebook : http://www.facebook.com/chivabeautyshop

ครีมหน้าใส” อื่นๆ :ครีมสาหร่ายครีมนมข้าวครีมน้ำนมข้าวครีมกันแดดซิลิโคน,ครีมหน้าใสเซรั่ม ขาว ใส ยกกระชับครีมตัวขาวครีม เซรั่ม ใต้ตาเจล หน้าใส ยกกระชับ ปรับผิวขาวสบู่หน้าใสครีม เซรั่ม เจล ลดสิวบรรจุภัณฑ์สติกเกอร์ โลโก้ ครีมหน้าใสผิวขาว , ครีมหน้าขาว ,ครีมมะหาดครีมนมผึ้งครีมน้ำนมผึ้ง






กด Link(ถูกใจ) หน้า page ครีมสาหร่าย สอบถามอัพเดตข่าวสาร ได้ที่ หน้า page นี้เลยนะค่ะ

 




ติดตาม อัพเดตเทรนด์ แฟชั่น ที่นี่ : เสื้อผ้าแฟชั่น กระเป๋าแฟชั่น เครื่องประดับแฟชั่น ขายส่ง ต่างหู กิ๊ฟช็อป ต่างหู ต่างหูแฟชั่น 
ทีวีออนไลน์ ที่นี่